รัฐสภาอินเดีย

รัฐสภาอินเดีย

भारतीय संसद  (ฮินดี)
Parliament of India  (อังกฤษ)
ตราแผ่นดินของอินเดีย
ประเภท
ประเภท
องค์ประกอบราชยสภา (สภาสูง)
โลกสภา (สภาล่าง)
ประวัติ
ก่อตั้ง26 มกราคม 1950 (1950-01-26)
ก่อนหน้าสภาร่างรัฐธรรมนูญแห่งอินเดีย
ผู้บริหาร
ราม นาถ โกวินท์
ตั้งแต่ 25 กรกฎาคม ค.ศ. 2017
เวนไคอาห์ ไนดู
ตั้งแต่ 11 สิงหาคม ค.ศ. 2017
หริวันช์ นรายัน สิงห์, JDU
ตั้งแต่ 14 กันยายน ค.ศ. 2020
ปิยุช โกยัล, BJP
ตั้งแต่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 2021
มัลลิการ์จัน คาร์เก, INC
ตั้งแต่ 15 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 2021
ออม เบอร์ลา, BJP
ตั้งแต่ 19 มิถุนายน ค.ศ. 2019
ว่าง
ตั้งแต่ 23 พฤษภาคม ค.ศ. 2019
นเรนทระ โมที, BJP
ตั้งแต่ 26 พฤษภาคม ค.ศ. 2014
ว่าง (ตั้งแต่ 26 พฤษภาคม ค.ศ. 2014 ไม่มีพรรคใดได้ No party has 10% Seats)
โครงสร้าง
สมาชิก788 คน
ราชยสภา 245 คน
โลกสภา 543 คน
กลุ่มการเมืองใน
ราชยสภา
กลุ่มการเมืองใน
โลกสภา
การเลือกตั้ง
ระบบถ่ายโอนคะแนนเสียง
ระบบแบ่งเขตคะแนนสูงสุด
การเลือกตั้งสมาชิกราชยสภาครั้งล่าสุด
2 พฤศจิกายน ค.ศ. 2020
การเลือกตั้งสมาชิกโลกสภาครั้งล่าสุด
11 เมษายน – 19 พฤษภาคม
ค.ศ. 2019
การเลือกตั้งสมาชิกราชยสภาครั้งหน้า
ค.ศ. 2021
การเลือกตั้งสมาชิกโลกสภาครั้งหน้า
ภายในเดือนพฤษภาคม ค.ศ 2024]]
ที่ประชุม
สันสัทภวัน, สันสัทมรรค
นิวเดลี,  อินเดีย
เว็บไซต์
parliamentofindia.nic.in
รัฐธรรมนูญ
รัฐธรรมนูญอินเดีย

รัฐสภาอินเดีย (ฮินดี: भारतीय संसद; อังกฤษ: Parliament of India) เป็นสภานิติบัญญัติแห่งสาธารณรัฐอินเดีย โดยเป็นระบบสองสภาประกอบด้วยประธานาธิบดีอินเดีย และสองสภา ได้แก่ ราชยสภา (สภาสูง) และโลกสภา (สภาล่าง) ประธานาธิบดีมีบทบาทในฐานะแห่งผู้นำองค์กรนิติบัญญัติมีอำนาจเต็มที่จะเรียกประชุมและปิดสมัยประชุมของทั้งรัฐสภาหรือเพื่อยุบโลกสภาได้ โดยประธานาธิบดีสามารถใช้อำนาจเหล่านี้ได้โดยคำแนะนำของนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี

สมาชิกสภาไม่ว่าจะมีที่มาจากการเลือกตั้งหรือแต่งตั้งโดยประธานาธิบดีนั้นเรียกว่าสมาชิกรัฐสภา (MPs) โดยสมาชิกรัฐสภาในโลกสภานั้นมาจากการเลือกตั้งทางตรงโดยประชาชนในแบบแบ่งเขตคะแนนสูงสุด และสมาชิกราชยสภานั้นมาจากการเลือกตั้งจากสมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐจากทุกรัฐในอินเดียโดยระบบถ่ายโอนคะแนนเสียง รัฐสภาอินเดียประกอบด้วยสมาชิกจำนวน 543 คนในโลกสภา และ 245 คนในราชยสภาซึ่งรวมถึงผู้ทรงคุณวุฒิด้านศิลปศาสตร์ อักษรศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และสังคมสงเคราะห์ จำนวน 12 คน ที่ประชุมสภาตั้งอยู่ที่สันสัทภวัน ในกรุงนิวเดลี

อ้างอิง

  1. "Live: Ram Nath Kovind becomes the 14th President of India". The Hindu. New Delhi, India. 25 July 2017. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 25 July 2017.
  2. "Venkaiah Naidu sworn in as Vice-President". The Hindu. New Delhi, India. 11 August 2017. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 9 February 2014.
  3. "Harivansh Narayan Singh re-elected Rajya Sabha deputy chairman | India News - Times of India". The Times of India (ภาษาอังกฤษ). 14 September 2020. สืบค้นเมื่อ 14 September 2020.
  4. "Minister Piyush Goyal To Be Leader Of House In Rajya Sabha". NDTV. สืบค้นเมื่อ 14 July 2021.
  5. "Om Birla unanimously elected Lok Sabha Speaker, PM Modi heaps praises on BJP colleague". India Today (ภาษาอังกฤษ). 19 June 2019. สืบค้นเมื่อ 19 June 2019.
  6. "Narendra Modi is sworn in as the 15th Prime Minister of India". The Times of India. 26 May 2014. เก็บจากแหล่งเดิมเมื่อ 6 September 2014. สืบค้นเมื่อ 15 August 2014.